Architectural Woodworking
Photo Contest

การประกวดภาพถ่ายงานไม้สถาปัตยกรรม

ภูมิปัญญางานไม้ของช่างไทยได้รับการสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่นตั้งแต่บรรพบุรุษจนถึงปัจจุบัน ไม้ในงานสถาปัตยกรรมแฝงกายซ่อนเร้นอยู่รายล้อมรอบตัวเราภายใต้ความท้าทายของวัสดุก่อสร้างของยุคสมัยใหม่
โครงการประกวดภาพถ่ายงานสถาปัตยกรรมไม้จัดขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของงาน Conservation Carpentry Fair โดย UNESCO และ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เชิญชวนผู้สนใจงานถ่ายภาพสื่อสารความงามและเรื่องราวของงานสถาปัตยกรรมไม้เพื่อเข้าร่วมประกวดภาพถ่ายในหัวข้อ “สืบสาน งานไม้ ลายมือช่าง” ส่งผลงานได้ตั้งแต่บัดนี้จนถึงวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2566

ABOUT CCF 23

Venue

9-12 February 2023
The Faculty of Architecture, Rajamangala University of Technology Thanyaburi
39 Moo1 Rangsit-Nakhonnayok road Klonghok Klongluang Pathumthani 11210 Thailand

วันที่ 9-12 กุมภาพันธ์ 2566
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก ตำบลคลองหก อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 11210

Official Partners

-UNESCO
องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ
-SCG Foundation
มูลนิธิเอสซีจี
-Rajamangala University of Technology Thanyaburi
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

Co-Partners

-BAAN LAE SUAN Publishing
สำนักพิมพ์บ้านและสวน
-BANANA Studio
บานาน่าสตูดิโอ

Guests – Organization

-Silpakorn University
สถาบันศิลปะสถาปัตยกรรมไทยเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยศิลปากร
-Walailak University
ศูนย์ความเป็นเลิศด้านไม้และวัสดุชีวภาพ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
-The National Electronics and Computer Technology Center (NECTEC)
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
-The Thailand Professional Qualification Institue (TPQI)
สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ(องค์การมหาชน)
-The Federation of Thai Industries (FTI)
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
-The Fine Arts Department
กรมศิลปากร
-Thailand VERNADOC and ARCH RSU
ไทยแลนด์เวอร์นาดอคและคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
-BANGKOK SKETCHERS
บางกอกสเก็ชเชอร์

Guests – Individual

-Tanin Sribenjarat Representative The Federation of Thai Industries
คุณธานินทร์ ศรีเบญจรัตน์ ผู้แทนสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
-Jullada Meejul The Thailand Professional Qualification Institute
คุณจุลลดา มีจุล สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน)
-Jumpoj Tratsiri Wat Bowornnives Vihara
คุณจุมภฏ ตรัสศิริ โครงการบูรณปฏิสังขรณ์ วัดบวรนิเวศวิหาร
-Veerapon Singnoi FOTO_MOMO
คุณวีระพล สิงห์น้อย โฟโตโมโม่
-Mati Sema BANANA Studio
คุณมติ เสมา บริษัท บานาน่าสตูดิโอ จำกัด
-Leenavat Teerapongramkul BANANA Studio
คุณลีนวัตร ธีระพงศ์รามกุล บริษัท บานาน่าสตูดิโอ จำกัด
-Alongkorn Juthakate Ph.D. BANANA Studio
ดร.อลงกรณ์ จุฑาเกตุ บริษัท บานาน่าสตูดิโอ จำกัด
-Patinya Seetidprasert KANGWAN Studio
คุณปฏิญญา สี่ทิศประเสริฐ บริษัท กังวานสตูดิโอ จำกัด
-Sudjit Svetajinta Ph.D. THAILAND VERNADOC
ผศ.ดร.สุดจิต เศวตจินดา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
-Muang Hla Thaung Studio Pyinkadoe Myanmar
မောင်လှသောင်း
-Yoji Hashizume Taiheiyo Design Office Japan
橋爪洋司
-Suntan Viengsima
คุณสันธาน เวียงสิมา
-Ing Kiatsingnakorn New Gen. Interpretator
คุณอิง เกียรติสิงห์นคร ผู้สื่อสารคุณค่าในวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่

EVENTS

กดเพื่อดาว์นโหลดรายการกิจกรรมงานช่างไม้อนุรักษ์
CLICK FOR DOWNLOADING CCF23 ACTIVITY SCHEDULE

Date / TimeAuditoriumAtriumWorkshop
Thursday 9th of February 2023
10.00-12.00
พิธีเปิดงาน / Opening ceremony
กล่าวขอบคุณโดย ดร. เฟง จิง ยูเนสโก กรุงเทพมหานคร
กล่าวแสดงความยินดีโดย คุณสุวิมล จิวาลักษณ์ กรรมการและผู้จัดการมูลนิธิเอสซีจี
กล่าวเปิดงานโดยอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราสชมงคลธัญบุรี
พิธีมอบโล่รางวัลพระราชทานฯ แด่ผู้ชนะการประกวดฝีมือช่างอนุรักษ์สถาปัตยกรรมไม้ของไทย พ.ศ. 2563
Awarding ceremony for winner of the Conservation Carpentry Contest 2020
13.00-16.00สาธิตและการแสดงผลงานและเครื่องมือ โดย
ประเสก ฝาคำ และ เดโชพล รัตนสัจธรรม (ทีมยางนาสตูดิโอ+ชุมช่างไม้)
การสาธิตการซ่อมอนุรักษ์ไม้จากแหล่งโบราณสถาน โดย
นันทณัฎฐ์ ไญยวิจธนาบดี และ ยศธน แซ่จาง (ทีมรวมอนุรักษ์)
Conservation demonstratio Display of masterpieces and tools
by Prasek Phakham and Dechophon Rattanasatchatham
Conservation skill demonstration
by Nantanat Yaivitthanabodhi and Yodthana Saechang
สาธิตเทคนิคช่างไม้นานาชาติ
งานไม้ขนบญี่ปุ่น โดย โยจิ ฮาชิซูเมะ
งานไม้ขนบไทย โดย สันธาน เวียงสิมา
International woodworking demonstration
Japanese tradition by Yoji Hashizume
Thai tradition by Suntan Viengsima
Friday 10th of February 2023
10.00-12.00
บรรยายและเสวนา: วิทยาศาสตร์และนวัตกรรมไม้
โดย รศ.ดร. พรรณนิภา เชาวนะ
และ ผศ.ดร. สัจจพันธ์ ลีละตานนท์
(สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์)
ดำเนินรายการโดย
กิตติ เชาวนะ (สำนักวิชาพหุภาษาและการศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์)
Lecture and discussion: Science and innovation (in Thai)
by Assoc.Prof. Dr. Pannipa Chaowana and Asst.Prof. Dr. Satjapan Leelatanon (School of Engineering and Technology, Walailak University)
Moderator: Kitti Chaowana (School of Languages and General Education, Walailak University)
สาธิตและการแสดงผลงานและเครื่องมือ โดย
ประเสก ฝาคำ และ เดโชพล รัตนสัจธรรม (ทีมยางนาสตูดิโอ+ชุมช่างไม้)
การสาธิตการซ่อมอนุรักษ์ไม้จากแหล่งโบราณสถาน
โดย
นันทณัฎฐ์ ไญยวิจธนาบดี และ ยศธน แซ่จาง (ทีมรวมอนุรักษ์)
Conservation demonstration Display of masterpieces and tools
by Prasek Phakham and Dechophon Rattanasatchatham
Conservation demonstration
of masterpieces
by Nantanat Yaivitthanabodhi and Yodthana Saechang
สาธิตเทคนิคช่างไม้นานาชาติ
งานไม้ขนบญี่ปุ่น โดย โยจิ ฮาชิซูเมะ
งานไม้ขนบไทย โดย สันธาน เวียงสิมา
International woodworking demonstration
Japanese tradition by Yoji Hashizume
Thai tradition by Suntan Viengsima
13.00-14.00ล้อมวงลงแขก: นักอนุรักษ์ยุคดิจิตัลใช้อะไรทำงาน
ร่วมเสวนาโดย
ดร. เทพชัย ทรัพย์นิธิ  คุณวัชชิรา บูรณสิงห์
(ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิคส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ / เนคเทค)
ลีนวัตร ธีระพงษ์รามกุล (บานาน่า สตูดิโอ)
ผศ. กิติศักดิ์ วิทยาโกมลเลิศ
ยุวสถาปนิก (มทร. ธัญบุรี) และผู้เข้าร่วมทุกท่าน
ดำเนินรายการโดย
มนทกานติ์ กิตติไพศาลศิลป์ (ยูเนสโก)
Roundtable discussion: What do digital-age conservation professionals use? (in Thai)
Joining the circle:
Dr. Thepchai Supnithi,
Watchira Buranasing (NECTEC)
Leenavat Teerapongramkul (Banana Studio), Asst.Prof. Witthayakomonlert, young architects (RMUTT) and all audience
Moderator:
Montakarn Kittipaisalsilp (UNESCO)
การสาธิตการซ่อมอนุรักษ์ไม้จากแหล่งโบราณสถาน โดย
นันทณัฎฐ์ ไญยวิจธนาบดี และ
ยศธน แซ่จาง (ทีมรวมอนุรักษ์)
Conservation demonstration
of masterpieces
by Nantanat Yaivitthanabodhi and Yodthana Saechang
สาธิตเทคนิคช่างไม้นานาชาติ
งานไม้ขนบญี่ปุ่น โดย โยจิ ฮาชิซูเมะ
งานไม้ขนบไทย โดย สันธาน เวียงสิมา
International woodworking demonstration
Japanese tradition by Yoji Hashizume
Thai tradition by Suntan Viengsima
14.00-15.00บรรยาย: การสำรวจสถาปัตยกรรมไม้ในปทุมธานี
โดย ผศ. กิติศักดิ์ วิทยาโกมลเลิศ
(คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มทร. ธัญบุรี)
Lecture: Researching wooden architecture in Pathum Thani
(in Thai)

by Asst.Prof. Witthayakomonlert
(Faculty of Architecture, RMUTT)
การสาธิตการซ่อมอนุรักษ์ไม้จากแหล่งโบราณสถาน โดย
นันทณัฎฐ์ ไญยวิจธนาบดี และ
ยศธน แซ่จาง (ทีมรวมอนุรักษ์)
Conservation demonstration
of masterpieces

by Nantanat Yaivitthanabodhi and Yodthana Saechang
สาธิตเทคนิคช่างไม้นานาชาติ
งานไม้ขนบญี่ปุ่น โดย โยจิ ฮาชิซูเมะ
งานไม้ขนบไทย โดย สันธาน เวียงสิมา
International woodworking demonstration
Japanese tradition by Yoji Hashizume
Thai tradition by Suntan Viengsima
15.30-16.30การตัดสินการประกวดภาพถ่าย ‘สืบสาน งานไม้ ลายมือช่าง’ ชิงเงินรางวัล
Judging panel for ‘Wood in Architectural Heritage’ photography contest
รายชื่อกรรมการตัดสิน
คุณสิทธิศักดิ์ น้ำคำ บรรณาธิการภาพ นิตยสารบ้านและสวน
คุณวีรพล สิงห์น้อย (Beer Singnoi) ช่างภาพสถาปัตยกรรมมืออาชีพ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณพงศ์ปกรณ์ ผลินยศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
อาจารย์สาโรช พระวงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
สาธิตเทคนิคช่างไม้นานาชาติ
งานไม้ขนบญี่ปุ่น โดย โยจิ ฮาชิซูเมะ
งานไม้ขนบไทย โดย สันธาน เวียงสิมา
International woodworking demonstration
Japanese tradition by Yoji Hashizume
Thai tradition by Suntan Viengsima
Saturday 11th of February 2023
10.00-12.00
การสาธิตการซ่อมอนุรักษ์ไม้จากแหล่งโบราณสถาน โดย
นันทณัฎฐ์ ไญยวิจธนาบดี และ
ยศธน แซ่จาง (ทีมรวมอนุรักษ์)
Conservation demonstration
of masterpieces

by Nantanat Yaivitthanabodhi and Yodthana Saechang
เสวนา: รอยต่อไม้ – บทกวีปากไม้ 
ร่วมเสวนาโดย
โยจิ ฮาชิซูเมะ  อู มอง ลา ตอง
และสันธาน เวียงสิมา
(พร้อมการแปลภาษาไทย-อังกฤษ-ญี่ปุ่น)
Discussion: Joinery – The Carpenter’s Poem (multiple languages)
Panelists:
Yoji Hashizume, U Maung Hla Thaung and Suntan Viengsima
(with translation)
12.00-13.00วงสนทนาช่างไม้อนุรักษ์ ประเด็น การเปลี่ยนผ่านทักษะวิชาชีพจากช่างไม้สู่ช่างไม้อนุรักษ์ฯ และ เทคนิคการซ่อมบูรณะงานไม้เชิงอนุรักษ์แตกต่างกับการทำงานไม้ทั่วไปอย่างไร โดย
สันธาน เวียงสิมา และ นันทณัฎฐ์ ไญยวิจธนาบดี ,
ยศธน แซ่จาง (ผู้ผ่านการอบรมหลักสูตรช่างอนุรักษ์สถาปัตยกรรมไม้ของไทย)
Group discussion: From an ordinary carpenter to a conservation carpenter

by Suntan Viengsima, Nantanat Yaivitthanabodhi and Yodthana Saechang
13.00-14.30เสวนา: กว่าจะเป็นโครงการรางวัลการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิคของยูเนสโก
ร่วมเสวนาโดย
มณฑิรา หรยางกูร อูนากูล (ยูเนสโก)
อินจี คิม (ยูเนสโก)
รศ.ดร. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ (โครงการอนุรักษ์วัดปงสนุก ลำปาง)
รณฤทธิ์ ธนโกเศศ (โครงการอนุรักษ์เรือนพระยาศรีธรรมาธิราช กรุงเทพมหานคร)
ธิป ศรีสกุลไชยรักษ์ (โครงการอนุรักษ์
วัดคูเต่า สงขลา)
เอิบเปรม วัชรางกูร และอริยะ ทรงประไพ (โครงการสร้างศูนย์อนุรักษ์ศิลปะงานช่างไม้ด้วยเทคนิคดั้งเดิม เพชรบุรี)
ดำเนินรายการโดย
มนทกานติ์ กิตติไพศาลศิลป์ (ยูเนสโก)

Discussion: Becoming an awarded project of the UNESCO Asia-Pacific Awards for Cultural Heritage Conservation (in Thai)
Panelists:
Montira H. Unakul (UNESCO)
Injee Kim (UNESCO)
Assoc.Prof. Dr. Woralun Boonyasurat (Wat Pongsanuk conservation project, Lampang)
Ronnarit Thanakoset (Ruean Phraya Si Thammathirat restoration project, Bangkok)
Thip Srisakulchairak (Wat Kutao conservation project, Songkhla)
Erbprem Vatcharangkul and Ariya Songprapai (Wood workshop construction in traditional techniques)
Moderator:
Montakarn Kittipaisalsilp (UNESCO)
การสาธิตการซ่อมอนุรักษ์ไม้จากแหล่งโบราณสถาน โดย
นันทณัฎฐ์ ไญยวิจธนาบดี และ
ยศธน แซ่จาง (ทีมรวมอนุรักษ์)
Conservation demonstration
of masterpieces

by Nantanat Yaivitthanabodhi and Yodthana Saechang
งานสาธิตเทคนิคช่างไม้นานาชาติและสนทนากลุ่ม
งานไม้ขนบญี่ปุ่น โดย โยจิ ฮาชิซูเมะ
งานไม้ขนบไทย โดย สันธาน เวียงสิมา
(บรรยาย)งานไม้ขนบเมียนมา โดย อู มอง ลา ตอง
International woodworking demonstration & group discussion
Japanese tradition by Yoji Hashizume
Thai tradition by Suntan Viengsima
(Lecture) Myanmar tradition by U Maung Hla Thaung
14.30-16.00อนุรักษ์สถาปัตยกรรมไม้
ร่วมเสวนาโดย
ปฏิญญา สี่ทิศประเสริฐ (กังวาน สตูดิโอ)
มติ เสมา (บานาน่า สตูดิโอ) และ
จุมภฎ ตรัสศิริ (โครงการบูรณปฏิสังขรณ์วัดบวรนิเวศวิหาร ราชวรวิหาร)
ดำเนินรายการโดย
ลีนวัตร ธีระพงษ์รามกุล (บานาน่า สตูดิโอ)
และมนทกานติ์ กิตติไพศาลศิลป์ (ยูเนสโก)

Discussion: Experience sharing on wooden heritage conservation
(in Thai) 

Panelists:
Patinya Seetidprasert (Kangwan Studio), Mati Sema (Banana Studio) and
Jumpot Tratsiri (Wat Bowonniwet Vihara restoration project)
Moderators:
Leenavat Teerapongramkul (Banana Studio) and
Montakarn Kittipaisalsilp (UNESCO)
การสาธิตการซ่อมอนุรักษ์ไม้จากแหล่งโบราณสถาน โดย
นันทณัฎฐ์ ไญยวิจธนาบดี และ
ยศธน แซ่จาง (ทีมรวมอนุรักษ์)
Conservation demonstration
of masterpieces

by Nantanat Yaivitthanabodhi and Yodthana Saechang
งานสาธิตเทคนิคช่างไม้นานาชาติและสนทนากลุ่ม
งานไม้ขนบญี่ปุ่น โดย โยจิ ฮาชิซูเมะ
งานไม้ขนบไทย โดย สันธาน เวียงสิมา
(บรรยาย)งานไม้ขนบเมียนมา โดย อู มอง ลา ตอง
International woodworking demonstration & group discussion
Japanese tradition by Yoji Hashizume
Thai tradition by Suntan Viengsima
(Lecture) Myanmar tradition by U Maung Hla Thaung
Sunday 12th of February 2023
10.00-12.00
เสวนา: กรอบมาตรฐานวิชาชีพช่างไม้อนุรักษ์
ร่วมเสวนาโดย
คุณจุลลดา มีจุล (สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ)
ดร. วสุ โปษยะนันทน์ (กรมศิลปากร)
ผู้แทนจากกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน (TBI)
ดำเนินรายการโดย ธานินทร์ ศรีเบญจรัตน์ (สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย)
Discussion: Professional competency framework for conservation carpenters (in Thai)
Panelists:
Jullada Meejul (Thailand Professional Qualification Institute – TPQI)
Dr. Vasu Poshyananda (The Fine Arts Department – FAD)
Representative from Department of Skill Development (TBI)
Moderator:
Thanin Sribenjarat
(Federation of Thai Industries)
การสาธิตการซ่อมอนุรักษ์ไม้จากแหล่งโบราณสถาน โดย
นันทณัฎฐ์ ไญยวิจธนาบดี และ
ยศธน แซ่จาง (ทีมรวมอนุรักษ์)
Conservation demonstration
of masterpieces

by Nantanat Yaivitthanabodhi and Yodthana Saechang
งานสาธิตเทคนิคช่างไม้นานาชาติและสนทนากลุ่ม
งานไม้ขนบญี่ปุ่น โดย โยจิ ฮาชิซูเมะ
งานไม้ขนบไทย โดย สันธาน เวียงสิมา
(บรรยาย)งานไม้ขนบเมียนมา โดย อู มอง ลา ตอง
International woodworking demonstration & group discussion
Japanese tradition by Yoji Hashizume
Thai tradition by Suntan Viengsima
(Lecture) Myanmar tradition by U Maung Hla Thaung
13.00-15.00เสวนา: ทิศทางการพัฒนาวิชาชีพงานไม้สถาปัตยกรรม
ร่วมเสวนาโดย
ผู้แทนจาก มทร.ธัญบุรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ม.ศิลปากร
ม.วลัยลักษณ์
ดำเนินรายการโดย
ธานินทร์ ศรีเบญจรัตน์
(สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย) และ
ศักดิ์สิทธิ์ โสมนัส (มทร.ธัญบุรี)
Discussion: Directions toward high professional standard for wooden heritage conservation (in Thai)
Panelists:
Representatives from RMUTT, Chulalongkorn University, Silpakorn University, Walailak University
Moderators:
Thanin Sribenjarat
(Federation of Thai Industries) and Saksit Sommanat (RMUTT)
การสาธิตการซ่อมอนุรักษ์ไม้จากแหล่งโบราณสถาน โดย
นันทณัฎฐ์ ไญยวิจธนาบดี และ
ยศธน แซ่จาง (ทีมรวมอนุรักษ์)
Conservation demonstration
of masterpieces

by Nantanat Yaivitthanabodhi and Yodthana Saechang
งานสาธิตเทคนิคช่างไม้นานาชาติและสนทนากลุ่ม
งานไม้ขนบญี่ปุ่น โดย โยจิ ฮาชิซูเมะ
งานไม้ขนบไทย โดย สันธาน เวียงสิมา
(บรรยาย)งานไม้ขนบเมียนมา โดย อู มอง ลา ตอง
International woodworking demonstration & group discussion
Japanese tradition by Yoji Hashizume
Thai tradition by Suntan Viengsima
(Lecture) Myanmar tradition by U Maung Hla Thaung
15.30-16.30พิธีปิดนิทรรศการ
แสดงผลงานร่วมจากการสาธิตเทคนิคช่างไม้นานาชาติ
แสดงผลงานจากการสาธิตการซ่อมอนุรักษ์ไม้จากแหล่งโบราณสถาน
ประกาศและมอบรางวัลแด่ผู้ชนะการประกวดภาพถ่าย ‘สืบสาน งานไม้ ลายมือช่าง’
Closing ceremony
Showcase of the cross-tradition creation from the international woodworking demonstration
Showcase of the restored artefacts from the conservation demonstration
Announcement of the winners of ‘Wood in Architectural Heritage’ photography contest

DO NOT MISS THESE!!!

SPECIAL EXHIBITIONS: TRADITIONAL THAI JOINERY | TRADITIONAL THAI TIMBER ARCHITECTURE | WOOD TECHNOLOGY and INNOVATION

TRADITIONAL THAI JOINERY
รอยต่อไม้ในงานสถาปัตยกรรมไทย

Mae Fah Luang Art&Cultural Park
อุทยานศิลปะวัฒนธรรมแม่ฟ้าหลวง

.

TRADITIONAL THAI TIMBER ARCHITECTURE
รูปแบบสถาปัตยกรรมไม้แบบไทยประเพณี

Silpakorn University
สถาบันศิลปะสถาปัตยกรรมไทยเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยศิลปากร

.

WOOD SCIENCE and INNOVATION
วิทยาศาสตร์และนวัตกรรมไม้

Walailak University
ศูนย์ความเป็นเลิศด้านไม้และวัสดุชีวภาพ
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

.

SPECIAL GUESTS: CARPENTRY PROFESSIONAL QUALIFICATION and OCCUPATIONAL STANDARDS

JULLADA MEEJUL
จุลลดา มีจุล

Thailand Professional Qualification Institute
สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน)

.

TANIN SRIBENJARAT
ธานินทร์ ศรีเบญจรัตน์

The Federation of Thai Industries
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

การพัฒนามาตรฐานวิชาชีพด้านงานไม้เป็น “บันไดขั้นแรกของการตระหนักรู้และสร้างคุณค่าทางเศรษฐกิจของไม้” ….ไม่เพียงแสดงออกถึงความรู้ความสามารถของช่าง สถาปนิก และอุตสาหกรรมไทย แต่ยังเป็นการส่งเสริมการใช้ไม้ที่เป็นวัสดุธรรมชาติที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมตั้งแต่การปลูก…การแปรรูปเพื่อใช้งาน..และการปลูกทดแทน..ตามแนวทาง Bio Economy / Circular Economy / Green Economy (BCG) ที่สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ถือเป็นนโยบายหลักขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ธานินทร์ ศรีเบญจรัตน์
ที่ปรึกษาคลัสเตอร์วัสดุก่อสร้าง สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

VASU POSHYANANDANA
วสุ โปษยะนันทน์

Department of Fine Arts
กรมศิลปากร

ความใส่ใจในรายละเอียดเพื่อความเข้าใจภูมิปัญญาช่างในอดีต จะนำมาซึ่งความสำเร็จของการอนุรักษ์ที่ไม่ใช่เพียงแค่เปลือก แต่คือการเจาะลึกจนถึงแก่น
วสุ โปษยะนันทน์
สถาปนิกเชี่ยวชาญ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านสถาปัตยกรรม (บูรณปฏิสังขรณ์หรือสถาปัตยกรรมไทย) กรมศิลปากร

SPECIAL GUESTS: WOOD SCIENCE and INNOVATION

Asst.Prof. Dr. Satjapan Leelatanon
ผศ.ดร.สัจจพันธ์ ลีละตานนท์

Center Of Excellence In Wood Science And Engineering Walailak University
ศูนย์ความเป็นเลิศด้านวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมไม้ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

.

Assoc.Prof. Dr. Pannipa Chaowana
รศ.ดร.พรรณนิภา เชาวนะ

Center Of Excellence In Wood Science And Engineering Walailak University
ศูนย์ความเป็นเลิศด้านวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมไม้ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

.

KITTI CHAOWANA
กิตติ เชาวนะ

School of Languages and General Education, Walailak University
สำนักวิชาพหุภาษาและการศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

PEERAYA SETTAPONG
พีรยา เศรษฐพงศ์

Center Of Excellence In Wood Science And Engineering Walailak University
ศูนย์ความเป็นเลิศด้านวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมไม้ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

.

SPECIAL GUESTS: EXPERIENCE SHARING SESSIONS

JUMPOJ TRATSIRI
จุมภฏ ตรัสศิริ

Wat Bowonniwet Vihara
โครงการบูรณปฏิสังขรณ์ วัดบวรนิเวศวิหาร

MATI SEMA
มติ เสมา

Banana Studio
บริษัท บานาน่า สตูดิโอ จำกัด

LEENAVAT TEERAPONGRAMKUL
ลีนวัตร ธีระพงศ์รามกุล

Banana Studio
บริษัท บานาน่า สตูดิโอ จำกัด

PATINYA SRITIDPRASERT
ปฏิญญา สี่ทิศประเสริฐ

Kangwan Studio
บริษัท กังวานสตูดิโอ จำกัด

ประสบการณ์การอนุรักษ์สถาปัตยกรรมไม้
ร่วมเสวนาโดย
ปฏิญญา สี่ทิศประเสริฐ (กังวาน สตูดิโอ)
มติ เสมา (บานาน่า สตูดิโอ) และ
จุมภฎ ตรัสศิริ (โครงการบูรณปฏิสังขรณ์วัดบวรนิเวศวิหาร ราชวรวิหาร)
ดำเนินรายการโดย
ลีนวัตร ธีระพงษ์รามกุล (บานาน่า สตูดิโอ)
และมนทกานติ์ กิตติไพศาลศิลป์ (ยูเนสโก)
Discussion: Experience sharing on wooden heritage conservation (in Thai) 
Panelists:
Patinya Seetidprasert (Kangwan Studio), Mati Sema (Banana Studio) and
Jumpot Tratsiri (Wat Bowonniwet Vihara restoration project)
Moderators:
Leenavat Teerapongramkul (Banana Studio) and Montakarn Kittipaisalsilp (UNESCO)

SPECIAL GUESTS: Asia-Pacific Awards for Cultural Heritage Conservation

Erbprem Vatcharangkul
เอิบเปรม วัชรางกูร

Wood workshop construction in traditional techniques Petchburi
โครงการสร้างศูนย์อนุรักษ์ศิลปะงานช่างไม้ด้วยเทคนิคดั้งเดิม เพชรบุรี

Ariya Songprapai
อริยะ ทรงประไพ

Wood workshop construction in traditional techniques Petchburi
โครงการสร้างศูนย์อนุรักษ์ศิลปะงานช่างไม้ด้วยเทคนิคดั้งเดิม เพชรบุรี

.

.

SPECIAL EVENTS: INTERNATIONAL WOODWORKING DEMONSTRATION and GROUP DISCUSSION

Maung Hla Thaung
မောင်လှသောင်း

Carpenter and Builder
STUDIO PYINKADOE Myanmar

Group discussion: Japanese-Burmese-Thai Traditional Joinery, with Yoji Hashizume from Japan and Suntan Viengsima from Thailand.(English and Japanese speaking with Thai translation)
Solo lecture: A brief history of timber architecture in Myanmar and its evolution. (English speaking with Thai translation)

Yoji Hashizume
橋爪洋司

Carpenter and Architect
TAIHEIYO DESIGN OFFICE Japan

Group discussion: Japanese-Burmese-Thai Traditional Joinery, with Muang Hla Thaung from Myanmar and Suntan Viengsima from Thailand.(English and Japanese speaking with Thai translation)
Demonstration: Traditional Japanese joinery.
Workshop: Japanese joinery

SUNTAN VIENGSIMA
สันธาน เวียงสิมา

Carpenter and Architect
SUN ARCHITECTS Thailand

Group discussion: Japanese-Burmese-Thai Traditional Joinery, with Yoji Hashizume from Japan and Muang Hla Thaung from Myanmar.(English and Japanese speaking with Thai translation)
Demonstration: Traditional Thai joinery.
Workshop: Basic woodworking joinery

รับสมัครช่างไม้สถาปัตยกรรมสมัครเล่นซึ่งมีทักษะการทำงานเบื้องต้นและเครื่องมือ hand tools เป็นของตัวเอง เพื่อรับการคัดเลือกเข้าร่วมกิจกรรม Japanese Joinery Workshop ปฏิบัติการงานไม้รอยต่อแบบจารีตญี่ปุ่น กับสถาปนิกช่างไม้ชาวญี่ปุ่น Yoji Hashizume ในงาน Conservation Carpentry Fair 2023 ณ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี วันที่ 9-12 กุมภาพันธ์ 2566
การร่วมกิจกรรมมีค่าใช้จ่ายวัสดุไม้ซีดาร์ญี่ปุ่นสำหรับการทำงานของท่านเอง และผู้ได้รับการคัดเลือกต้องร่วมกิจกรรมตลอดทั้ง 4 วันในระหว่างงาน จำกัดจำนวนผู้ได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมกิจกรรมเพียง 3 ท่าน

การคัดเลือกพิจารณาจากทักษะพื้นฐานและโอกาสการพัฒนาทักษะเพื่อใช้ในการสนับสนุนการศึกษาและวิชาชีพงานไม้สถาปัตยกรรมเพื่อการอนุรักษ์ในอนาคต ผู้ได้รับการคัดเลือก 3 ท่าน (หรือจำนวนที่เหมาะสมโดยการพิจารณาตัดสินของคณะกรรมการจัดงาน) จะได้ทำงานไม้แบบจารีตญี่ปุ่นของตนเองคู่ขนานไปพร้อมกับการสาธิต international woodworking demonstration ภายใต้คำแนะนำและดูแลการทำงานอย่างใกล้ชิดโดย Yoji Hashizume และ ผู้ช่วยช่างไม้ซึ่งผ่านการอบรมช่างไม้อนุรักษ์สถาปัตยกรรม ทั้งนี้ผู้ผ่านการคัดเลือกต้องเตรียมเครื่องมืองานไม้ hand tools เพื่อใช้ในการทำงานของตนเอง โดยผู้จัดงานเตรียมสถานที่ทำงานและอุปกรณ์อำนวยความสะดวกในการทำงานอื่นๆที่จำเป็นบางส่วน ผู้สนใจรับการคัดเลือกจัดเตรียมประวัติส่วนตัว ประวัติการทำงานไม้ ภาพถ่ายหรืออธิบายผลงานและทักษะการทำงานไม้ของท่านพร้อมกับภาพถ่ายเครื่องมืองานไม้เพื่อประกอบการพิจารณา ส่งมาที่ conservationcarpentryfair@gmail.com ภายในวันที่ 20 มกราคม 2566 Download Brochure

“จับมือ จับไม้”
กิจกรรมฝึกปฏิบัติการงานไม้สถาปัตยกรรมขั้นพื้นฐาน ตัด-ไส-สิ่ว-เจาะ ด้วยเครื่องมือ Hand tools โดย สันธาน เวียงสิมา และ ศิษย์เก่าหลักสูตรการอบรมช่างอนุรักษ์สถาปัตยกรรมไม้ของไทย
กิจกรรมนี้ผู้สนใจไม่จำเป็นต้องมีทักษะงานไม้ เพียงอาศัยความสนใจในการทำงานไม้สถาปัตยกรรมโดยจำเพาะซึ่งแตกต่างจากการทำงานไม้เครื่องเรือนและอื่นๆ วัตถุประสงค์หลักของกิจกรรมเพื่อปูพื้นฐานในการพัฒนาทักษะหรือเป็นความรู้พื้นฐานในการทำงานออกแบบ/วางแผนการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมต่อไป
รับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมรอบละ 4 ท่าน/วัน (รอบที่ 1 วันเสาร์ที่ 11 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 9.30-15.30 น. รอบที่ 2 วันอาทิตย์ที่ 12 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 9.30-15.30 น.) ส่งประวัติส่วนตัว การศึกษาและความสนใจในงานไม้สถาปัตยกรรมเพื่อรับการคัดเลือก ที่ conservationcarpentryfair@gmail.com ภายในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2566 Download Brochure

การบรรยาย สถาปัตยกรรมไม้ในสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์และวิวัฒนาการจากอดีตสู่ปัจจุบัน Timber architecture in Myanmar and its evolution โดย Maung HlaThaung แห่งสำนักงานออกแบบสถาปัตยกรรม Studio Pyinkadoe เมืองย่างกุ้ง จะมาเล่าเรื่องวิวัฒนาการของสถาปัตยกรรมไม้ 3 ช่วงเวลาในประเทศเมียนมาร์ตั้งแต่ยุคก่อน ยุคระหว่าง และ หลังยุคอาณานิคม เป็นการบรรยายที่นิสิตนักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์และสถาปนิกซึ่งสนใจในงานสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นและงานสถาปัตยกรรมไม้ไม่ควรพลาดโอกาสดีดีเช่นนี้เพื่อเป็นกรณีศึกษาเปรียบเทียบกับงานสถาปัตยกรรมไม้ในสยามประเทศ การบรรยายเป็นภาษาอังกฤษโดยมีล่ามแปลภาษา Download Brochure หรือ Download Maung Hla Thaung’s profile

SPECIAL EVENTS: BANGKOK SKETCHERS | Thailand VERNADOC | PHOTO CONTEST

BANGKOK SKETCHERS

Bangkok Sketchers Group กลุ่มบางกอกสเก็ตเชอร์ เป็นกลุ่มบุคคลที่มีใจรักในการออกเดินวาดรูป ประกอบไปด้วยบุคคลหลายวัยหลายอาชีพ ทั้งศิลปินและบุคคลทั่วไป ก่อตั้งปี พ.ศ.2553 จัดกิจกรรมต่อเนื่องมาตลอด เชื่อในการวาดรูปเพื่อความสุข ไม่จำเป็นต้องตัดสินความสวยงามตามทฤษฎี ใช้การวาดรูปเพื่อบันทึก ทั้งสถานที่ อาคาร ผู้คน เรื่องราว ประสบการณ์ ไปตามมุมมองของผู้วาด สร้างความตระหนักรู้ในคุณค่าให้เกิดขึ้นในหัวใจผู้วาด ออกไปสู่ผู้ชมและคนทั่วไป ปัจจุบันมีผู้ติดตามกลุ่มเกือบสามหมื่นคน และมีสมาชิกออกมาวาดรูปร่วมกันเป็นประจำราวร้อยคน

ThaILAND VERNADOC

VERNADOC word refers to a methodology for vernacular architecture study that emphasizes the collecting of data and information on site by basic techniques to produce high quality measured drawings. It is expected that the results of field measure working will inspire building owners as well as people in the community to realize the values of their property as perceived by outsiders, so that they will co-operate in conserving those buildings. VERNADOC (VERNAcular architecture DOCumentation) คือกระบวนการเก็บข้อมูลสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นโดยสถาปนิก ด้วยเทคนิควิธีที่ง่าย แต่ได้คุณภาพสูง เพื่อใช้ประโยชน์ในการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น ซึ่งสามารถนำไปปฏิบัติได้ทุกพื้นที่ในโลกใบนี้

PHOTO CONTEST
การประกวดภาพถ่ายงานไม้สถาปัตยกรรม

ภูมิปัญญางานไม้ของช่างไทยได้รับการสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่นตั้งแต่บรรพบุรุษจนถึงปัจจุบัน ไม้ในงานสถาปัตยกรรมแฝงกายซ่อนเร้นอยู่รายล้อมรอบตัวเราภายใต้ความท้าทายของวัสดุก่อสร้างของยุคสมัยใหม่
โครงการประกวดภาพถ่ายงานสถาปัตยกรรมไม้จัดขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของงาน Conservation Carpentry Fair โดย UNESCO และ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เชิญชวนผู้สนใจงานถ่ายภาพสื่อสารความงามและเรื่องราวของงานสถาปัตยกรรมไม้เพื่อเข้าร่วมประกวดภาพถ่ายในหัวข้อ “สืบสาน งานไม้ ลายมือช่าง” ส่งผลงานได้ตั้งแต่บัดนี้จนถึงวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2566

RECENT PROGRAM

CONSERVATION CARPENTRY CONTEST 2020

การประกวดช่างไม้อนุรักษ์

ภาพบรรยากาศการประกวดช่างไม้อนุรักษ์ พศ.2563 โดย UNESCO และ พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน ณ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี หนึ่งในโครงการส่งเสริมและพัฒนาทักษะฝีมือช่างไม้อนุรักษ์ของประเทศไทย โดยทีมช่างไม้ซึ่งผ่านการคัดเลือกจากการประกวดรอบแรกในเดือนพฤศจิกายน 2563 ได้เข้าร่วมในการประกวดรอบตัดสินในปี 2564 เพื่อดำเนินการซ่อมชิ้นงานไม้โบราณจริงจากพระราชนิเวศน์มฤคทยาวัน โดยทีมชนะเลิศในการประกวดได้แก่ ยางนาสตูดิโอ+ชุมช่างไม้ ซึ่งจะเข้าร่วมรับโล่ห์รางวัลพระราชทานและร่วมแสดงผลงาน/เครื่องงานไม้ในงาน CCF 23

RECENT PROGRAM

FIELD TRIP 2022

ชมตำหนักทอง วัดไทร บางขุนเทียน

5 พฤศจิกายน 2565 ณ ตำหนักทองวัดไทร บางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร บรรยายและนำชมโดย คุณพงษ์ธร เหียงแก้ว สถาปนิกชำนาญการพิเศษ กลุ่มวิชาการอนุรักษ์โบราณสถาน สำนักสถาปัตยกรรม กรมศิลปากร ผู้ดูแลงานโครงการอนุรักษ์ตำหนักทอง วัดไทร ร่วมกับบริษัทผู้รับเหมางานอนุรักษ์โครงการดังกล่าวตำหนักทอง วัดไทร เป็นโบราณสถานไม้ เล่ากันว่าเคยเป็นที่ประทับของพระเจ้าเสือแห่งกรุงศรีอยุธยาเมื่อครั้งเสด็จผ่านคลองด่าน

COMING PROGRAM

FIELD TRIP 2023

วัดพุทไธศวรรย์ และ วัดไชยวัฒนาราม พระนครศรีอยุธยา

25 กุมภาพันธ์ 2566 One day trip นำชมพระอุโบสถ วิหารพระกัจจายนะ วิหารพระนอน และ ตำหนักสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ วัดพุทไธศวรรย์ ในช่วงเช้า และ โบราณสถานวัดไชยวัฒนาราม ในช่วงบ่าย โดยวิทยากร ผศ.ดร.ปาริสุทธิ์ เลิศคชาธาร อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นผู้บรรยายเกี่ยวกับประวัติศาสตร์และศิลปสถาปัตยกรรม ร่วมกับ อาจารย์สันธาน เวียงสิมา เป็นผู้บรรยายเทคนิคงานไม้สถาปัตยกรรมและโครงสร้าง และ คุณวราภรณ์ สุวัฒนโชติกุล สถาปนิก World Monuments Fund ผู้ดูแลงานอนุรักษ์วัดไชยวัฒนารามเป็นผู้ร่วมบรรยายและนำชม

ชมความงดงามของรูปแบบศิลปสถาปัตยกรรมสมัยอยุธยาและภูมิปัญญางานไม้ในอดีต ร่วมกิจกรรมการตามหาปริศนารอยต่อไม้แบบจารีตซึ่งซ่อนอยู่ในองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมและโครงสร้างของศาสนสถานภายในวัดพุทไธศวรรย์ และ โบราณสถานวัดไชยวัฒนาราม

จำกัดจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมและไม่มีค่าใช้จ่าย รายละเอียดและกำหนดการกรุณาติดตามข่าวสารจาก FACEBOOK page UNESCO Bangkok

สื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์

Free DOWNLOAD Bookset
TIMBER ARCHITECTURE CONSERVATION 1-3
หนังสือชุด การอนุรักษ์สถาปัตยกรรมไม้ เล่มที่ 1-3

YouTube channel: Conservation Carpentry Fair

YouTube Channel: Conservation Carpentry Fair
@conservationcarpentryfair
รวมคลิปวิดีโอการบรรยาย บทสัมภาษณ์ เกล็ดความรู้ การสาธิต และ การทำงานงานไม้สถาปัตยกรรมเชิงอนุรักษ์จากในประเทศและต่างประเทศ

Conservation Carpentry Fair

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore.

Other Pages

.

.

.

.

.

Quick Links

Privacy Policy

Term Of Service

Disclaimer

FAQ


CCF23 Official Website Draft version December 2022 by Faculty of Architecture, Rajamangala University of Technology Thanyaburi. All rights reserved.